top of page

ประชุมระดับชาติ เรื่อง มลพิษทางอากาศ PM 2.5 ครั้งที่ 1

หัวข้อ “อากาศสะอาด : ความรับผิดชอบร่วมของรัฐ เอกชน และประชาสังคม”

เพราะเฮามีลมหายใจ๋เดียวกั๋น

3 - 4 ธันวาคม 2566 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา จ. เชียงใหม่

การจัดการมลพิษอากาศจากไฟป่า ไฟในที่โล่ง และมลพิษข้ามแดน โดยภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และภาคประช.p

มลพิษ

ทางอากาศ

ในประเทศไทย

ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาในที่โล่ง

ภาคกลาง

ส่วนใหญ่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม

และหมอกควันจากการคมนาคม

ภาคใต้

ส่วนใหญ่เกิดจากหมอกควันจากประเทศเพื่อนบ้าน

ปัญหาฝุ่นควันในภาคเหนือ

ปัญหาฝุ่นควันในภาคเหนือเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ฝุ่นควันจากใน

เมืองที่เกิดจากการใช้ยานพาหนะในการเดินทางและขนส่งฝุ่นควันจาก

การก่อสร้าง การทำอาหารประเภทปิ้งย่าง และควันจากโรงงาอุตสาหกรรม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีฝุ่นควันจากพื้นที่เกษตรกรรมที่เกิดจากการเผาไหม้เศษซากพืชไร่ รวมถึงไฟป่าที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยเฉพาะในช่วงเข้าสู่ฤดูแล้ง ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม ถึง เดือนพฤษภาคม รวมทั้งฝุ่นควัน 

จากประเทศเพื่อนบ้าน ประกอบกับหลายพื้นที่มีสภาพภูมิศาสตร์เป็นแอ่งกระทะ ทำให้อากาศระบายได้ไม่ดี เป็นต้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าปัญหาฝุ่นควันเป็นวงจรที่ส่งผลกระทบด้านระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบด้านการ ท่องเที่ยวและสุขภาพของประชาชน รวมทั้งการบาดเจ็บ และเสียชีวิตจากการดับไฟป่า

วัตถุประสงค์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อออกแบบกลไกการขับเคลื่อน การแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ

และฝุ่นควันอย่างยั่งยืนร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ และหน่วยงานท้องถิ่น

ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม โดยที่ภาครัฐต้องตอบสนองต่อปัญหา

มลพิษทางอากาศ PM2.5 ในภูมิภาคต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย

ตามบริบทพื้นที่ขณะเดียวกัน การแก้ไขปัญหาก็ต้องอาศัย การประสานงานระหว่างหน่วยงานมากขึ้น เพื่อให้เกิดการบูรณาการภายใต้เจตจำนงร่วมกันที่มุ่งมั่นในการแก้ปัญหามลพิษในระยะยาวและยั่งยืน

การสร้างนโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหา

ได้ในเชิงปฏิบัติและเชิงพื้นที่ และก่อให้เกิดสังคมที่ตระหนัก

รู้ถึงความสำคัญ ของปัญหาพิษทางอากาศผ่านการเผยแพร่

สู่สาธารณะชน อันนำไปสู่การจัดการและแก้ไขปัญหามลพิษ

ทางอากาศ PM2.5 ในแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสมและเกิดความยั่งยืน

ละครสั้น “อากาศสะอาด : ความรับผิดชอบร่วมของรัฐ เอกชนและประชาสังคม”

 

กล่าวต้อนรับ

โดย าสตราจารย์ ดร.นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รายงานวัตถุประสงค์

โดย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์

ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

 

กล่าวเปิดงาน

โดย นายแพทย์ ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (สธ.)

และรองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ คนที่ 1

พิธีเปิด 09.00 - 09.30 น.

ปาฐกถาพิเศษ 09.30 - 10.30 น.

หัวข้อ “อากาศสะอาด ความรับผิดชอบร่วมของรัฐ  เอกชน และประชาสังคม”

โดย นพ.พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช

เลขาธิการนายกรัฐมนตรี

หัวข้อ “นวัตกรรมทางสังคม การบริหารจัดการฝุ่นควันร่วมกันระหว่างภาครัฐ  และภาคประชาสังคม”

โดย คุณนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร

ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ กระทรวงมหาดไทย (มท.)

เสวนาฝ่าฝุ่นควัน EP.1 10.30 - 12.00 น.

 

“การบริหารจัดการอากาศสะอาดอย่างมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน”

- ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

- อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ

- อธิบดีกรมวิชาการเกษตร

- อธิบดีกรมอนามัย

- รศ. ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม

วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

- คุณสุรีรัตน์ ตรีมรรคา รองประธานสภาลมหายใจเชียงใหม่

ดำเนินรายการโดย :  คุณบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์

กรรมการกำกับกิจการพลังงาน และคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

12.00 - 13.30 น เทศกาลเพื่อลมหายใจ 

บริเวณโถงห้องประชุม นิทรรศการ  workshop เสวนา ศิลปะ บทเพลง

13.30 - 16.30 น. เสวนาย่อย “นโยบายและมาตรการจัดการมลพิษทางอากาศที่ประเทศต้องการ”

15.30 - 17.30 น.

เวทีกลางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Showcase การขับเคลื่อนการป้องกัน

และแก้ไข ปัญหามลพิษทางอากาศ โดยภาคีเครือข่าย สสส. บริเวณโถงห้องประชุม

  • ศูนย์ข้อมูลมลพิษอากาศเพื่อทุกคน โดย สวสท.

  • โครงการวิทยาศาสตร์ภาคพลเมืองเพื่อลดความเสี่ยงจากมลพิษ                  อุตสาหกรรม (PRTR) โดย มูลนิธิบูรณะนิเวศ

  • โครงการห้องปลอดฝุ่น ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดย กรมอนามัย

  • โครงการห้องเรียนสู้ฝุ่น โดย หจก.เติมเต็มวิสาหกิจเพื่อสังคม

  • โครงการ ThaiCAN

  • โครงการพัฒนาและบริหารจัดการเชื้อเพลิง (ระบบ Burn Check)              โดย GISTDA  

  • โครงการชุมชนลดการเผา โดย สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 2

  • โครงการชุมชนปลอดการเผา โดย สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 1 และ 3 ระบบพยากรณ์ฝุ่นล่วงหน้า โดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • โครงการฉลากผลิตภัณฑ์ชุมชน CEC โดย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

  • โครงการป่าชุมชนคาร์บอนเครดิต โดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน      (องค์การมหาชน)

  • โครงการยกระดับป่าชุมชน โดย มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ภาคเหนือ)     

  • โครงการฝุ่นชาติพันธุ์ โดย มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ                           

  • โครงการฝุ่นเมือง โดย มูลนิธิส่งเสริมการออกแบบอนาคตประเทศไทย

ห้องที่ 1 : ระบบสุขภาพไทยพร้อม เผชิญโรค และผลกระทบจากมลพิษ    ทางอากาศ

ห้องที่ 2 : การจัดการมลพิษอากาศจากไฟป่า ไฟในที่โล่งและมลพิษข้ามแดน

ห้องที่ 3 : การจัดการมลพิษอากาศภาคการเกษตร มาตรการสร้าง

แรงจูงใจทางเศรษฐกิจลดการเผา เศษวัสดุการเกษตร อ้อย ข้าว และข้าวโพด

และ การเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนในพื้นที่ป่า

ห้องที่ 4 : การจัดการมลพิษอากาศภาคอุตสาหกรรม (ลดการปลดปล่อย)
และภาคคมนาคมขนส่ง (ขนส่งสาธารณะ ขนส่งมวลชน เครื่องยนต์สะอาด)

ห้องที่ 5 : ผลกระทบและการร่วมขับเคลื่อนการแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ ของภาคธุรกิจ /เอกชน

ห้องที่ 6 : องค์ความรู้ทางวิชาการกับการจัดการมลพิษ

ทางอากาศระดับชุมชนและสังคม

ห้องที่ 7 : กฏหมายและสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม/
กฎหมายกับการแก้ไขปัญหาฝุ่นควันที่กระทบต่อสุขภาพ

3 ธันวาคม 2566

คนรุ่นใหม่ภายใต้ทิศทางเชียงใหม่เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองสีเขียว

“ลดการปลดปล่อยเพิ่มการกักเก็บ” เมืองสีเขียว บริหารจัดการไฟ

เศรษฐกิจสีเขียว การปรับเปลี่ยนการปลูกไผ่แทนพืชเชิงเดี่ยว

วัฒนธรรม วิถีชีวิต ไร่หมุนเวียน การบริหารจัดการไฟและพื้นที่

นิทรรศการ

  • ศิลปะ จัดการฝุ่น Art For Air # 3

  • การปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต ปลูกไผ่แทนพืชเชิงเดี่ยว

  • ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

  • บริโภคลดโลกร้อน ลดฝุ่น

  • พื้นที่ต้นแบบจัดการใบไม้ กิ่งไม้ ตอซังข้าว อ้อย ข้าวโพด

  • พื้นที่ต้นแบบจัดการป่า จัดการท่องเที่ยว เศรษฐกิจสีเขียว

  • พื้นที่ต้นแบบจัดการบริหารพื้นที่สีเขียว ลดปลดปล่อยมลพิษเพิ่มกัก      เก็บคาร์บอน

  • ศูนย์ข้อมูลมลพิษอากาศเพื่อทุกคน โดย สวสท.

  • พื้นที่ต้นแบบ จัดการมลพิษโรงงานอุตสาหกรรม และ PRTR            โดย มูลนิธิบูรณะนิเวศ และกรีนพีซ

  • ห้องปลอดฝุ่น โดย กรมอนามัย

  • ห้องเรียนสู้ฝุ่น โดย หจก.เติมเต็มวิสาหกิจเพื่อสังคม

  • นิทรรศการจมูกสะอาด โดย ThaiCAN

  • ระบบ Burn Check โดย GISTDA

  • โครงการฉลาก CEC โดย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

  • เครือข่ายชุมชนลดการเผา                                                      โดยสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 2

  • เครือข่ายชุมชนปลอดการเผา                                                  โดยสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 1,3

  • ระบบพยากรณ์ฝุ่นล่วงหน้า โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • โครงการป่าชุมชนคาร์บอนเครดิต                                            โดยสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

  • โครงการยกระดับป่าชุมชนเพื่อการจัดการไฟป่าแบบยั่งยืนและลด        ผลกระทบทางสุขภาวะจังหวัดเชียงใหม่                                      โดย มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ภาคเหนือ)

  • ฝุ่นชาติพันธุ์ โดย มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ

  • โครงการสานพลังขับเคลื่อนเคาท์ดาวน์ PM2.5 เพิ่มสุขภาวะ                คนเมืองหลวง (ฝุ่นเมือง)                                                          โดยมูลนิธิส่งเสริมการออกแบบอนาคตประเทศไทย

  • Smart City แม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

 4 ธันวาคม 2566

สรุปวันวานที่ผ่านมา และชมภาพยนตร์สารคดี Art For Air

“ศิลปะแห่งการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศอย่างยั่งยืน”

สรุป 08.30 - 09.00 น.

ปาฐกถาพิเศษ 09.00 - 10.00 น.

หัวข้อ"ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกับการส่งเสริม ป้องกัน และดูแลประชาชนจากปัญหามลพิษทางอากาศ"

เสวนาฝ่าฝุ่นควัน EP.2 10.00 - 11.00 น.

“การกระจายอำนาจ หนุนเสริมชุมชน บริหารจัดการพื้นที่ด้วยตัวเอง”

 โดย รศ.ดร.ธนพร ศรียากูล                                                     คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

“ภารกิจถ่ายโอนจากกรมป่าไม้ สู่การจัดการโดยท้องถิ่น”

 โดย อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

“ประชาสังคมร่วมกับรัฐแก้ปัญหาไฟป่าฝุ่นควัน”

โดย คุณสามชาย พนมขวัญ ชมรมอากาศดีที่เมืองแพร่

“นวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ หนุนเสริมการจัดการมลพิษอากาศ”

 โดย ดร.ปกรณ์ เพ็ชรประยูร                                                         ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมภูมิสารสนเทศ GISTDa

 ดำเนินรายการโดย

 คุณชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานสภาลมหายใจเชียงใหม่

เสนอนโยบาย 11.00 - 12.00 น.

  • ข้อเสนอเชิงนโยบาย มาตรการ จากเวทีการประชุม

       โดย คุณไพรัช โตวิวัฒน์ ประธานมูลนิธิเพื่อลมหายใจเชียงใหม่

  • รับข้อเสนอเชิงนโยบาย และกล่าวปิดการประชุม

        โดย ผู้แทนประธานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.)

พิธีปิดการประชุม 12.00 - 12.30 น.

  • ส่งมอบเจ้าภาพจัด PM2.5 National Forum ครั้งต่อไป

คิวอาร์โค้ด

ลงทะเบียนร่วมงาน

โดย นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี                                                เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

หัวข้อ“สิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม และฝุ่นควันข้ามพรมแดน”

โดย คุณศยามล ไกยูรวงศ์

กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

โลโก้หน่วยงานสนับสนุนฟอรั่ม
โลโก้สภ��าลมหายใจ2

“เชียงใหม่มีอากาศสะอาดที่ยั่งยืน”

เลขที่ 35 ถ.รัตนโกสินทร์ ต.วัดเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50000

(โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา)  โทร 061 269 5835

  • Facebook
  • Youtube
  • TikTok
  • Instagram
bottom of page