

ปี 2567 เชียงใหม่ประสบความสำเร็จ 3 เรื่อง
-
การหลอมรวมบูรณาการทำงานร่วมกันยอมรับการบริหารจัดการเชื้อเพลิง ภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ
-
การบริหารจัดการปัญหาร่วมกันบนฐานการตั้งเป้าร่วมกัน ลดจุดคความร้อน ลดพื้นที่เผาไหม้ ลดวันที่ค่าฝุ่นเกินเกณฑ์และลดจำนวนครั้งของผู้ป่วยเข้า โรงพยาบาล
-
วาระประเทศ นายกฯเศรษฐา มาติดตาม 6 ครั้งอนุมัติงบกลาง
ข้อเสนอของจังหวัดเชียงใหม่
1. เสนอให้นายกฯ แต่งตั้งทดลองใช้คณะกรรมการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่นำร่อง ตามร่าง พรบ. อากาศสะอาด
2. มี “กองทุน” ที่เกี่ยวกับการจัดการไฟป่าฝุ่นควัน อากาศสะอาด สามารถใช้งบประมาณได้โดยไม่ต้องรอ “งบกลาง” หรืองบรายกระทรวง
3. แต่งตั้งคณะกรรมการที่มีอำนาจหน้าที่ชัดเจน ครอบคลุม บูรณาการหน่วยงานต่างกระทรวง
4. การปลดล็อคกฎหมาย (มีระเบียบคู่มือ แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน) ให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องใช้
5. หนุนเสริมให้ภาคเอกชนมีความรู้ความเข้าใจร่วมกันในการ แก้ปัญหา มีส่วนร่วมสนับสนุนกองทุนอากาศสะอาด
6. ร่างพรบ. มีคณะกรรมการระดับจังหวัดแต่ยังขาดคณะกรรมการระดับพื้นที่ เช่น พื้นที่ไฟป่าภาคเหนือ
7. ข้อจำกัดของบทลงโทษ (ประชาชนมีสิทธิฟ้องร้องได้) อยากให้คำนึงถึงความ เป็นธรรมที่ไม่เกิดความขัดแย้ง
-
กลุ่มที่ทำกำไร
-
การปล่อยมลพิษในชีวิตประจำวัน ขับขี่ยานพาห
8. สิทธิในที่ดินทำกิน การจัดการในเขตป่า ชอบด้วยกฎหมาย
9. ข้อจำกัดของงบประมาณ ในการจัดการไฟป่าฝุ่นควัน
-
ภาษี
-
ค่าธรรมเนียม
-
ค่าปรับ
ปี 2568 เชียงใหม่เดินหน้าจากความสำเร็จเดิมปี 2567
แต่ต้องการงบประมาณเพิ่มด้วย ณ ปัจจุบันงบประจำปี 68 ที่ตั้งโดยหน่วยงานประจำ อุทยาน, ป่าไม้, ท้องถิ่นถูกตัดจำเป็นต้องมีการเสริม “งบกลาง” เพื่อประสบผล และสามารถขยายผลในระดับภาค 8 จังหวัด ด้วย
งบกลาง
-
อุทยาน
-
ป่าไม้
-
ท้องถิ่น-อปท.จัดการไฟ
-
สาธารณสุข
-
พัฒนาชุมชน+กศน.
เพื่อเสริมศักยภาพการจัดทำแผนบริหารจัดการเชื้อเพลิงระดับพื้นที่ อบรม/workshop โดยใช้ศักยภาพของพัฒนาชุมชนตำบล+ครูกศน. เพื่อสื่อสารถึงประชาชน ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ระดับพื้นที่รวมถึงการจัดทำแผนร่วมระหว่าง ประชาชน+อปท.+ท้องที่ + จนท.อุทยาน+จนท.ป่าไม้